ภาวะไตวายเรื้อรังสามารถป้องกันได้อย่างไร? คำแนะนำบางประการในการป้องกันหรือลดการลุกลามของภาวะไตวายมีดังนี้
นพ.จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) กล่าวว่า จากการประชุมคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (บอร์ด สปสช.) ครั้งที่ 1/2565 เมื่อวันที่ 6 ม.ค.65 ได้มีมติเห็นชอบข้อเสนอการช่วยเหลือค่าบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมแก่ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ไม่สมัครใจรับบริการล้างไตผ่านทางช่องท้อง และเตรียมเริ่มดำเนินการตั้งแต่วันที่ 1 ก.พ.65 เป็นต้นไป
แบบเสนอรายชื่อผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย เพื่อพิจารณาขอใช้วิธีการรักษาบำบัดทดแทนไตด้วยการฟอกเลือดเครื่องไตเทียมถาวร
แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนการบำบัดทดแทนไต ประกันสังคม
การให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดหลอดเลือด 1.การให้คำแนะนำการปฏิบัติตัวหลังการผ่าตัดหลอดเลือด 1.1 ระวังไม่ให้น้ำเปียกแผล 1.2 ยกแขนสูงกว่าระดับหัวใจ เพื่อลดอาการบวม ห้ามนอนทับแขน 1.3 แนะนำให้ผู้ป่วยบริหารเส้นเลือดทันทีเมื่อไม่มีอาการปวดแผล 1.4 ห้ามยกของหนัก ใส่เครื่องประดับ หรือเสื้อรัดแขน 1.5 ห้ามวัความดันโลหิต ห้ามเจาะเลือด และให้สารน้ำ ทางหลอดเลือดในแขนข้างที่มี เส้นฟอกเลือด
ผักและผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยงงดรับประทาน ผักที่ผู้ป่วยโรคไตควรหลีกเลี่ยง ผลไม้ที่ผู้ป่วยโรคไตควรงดรับประทาน
การปฏิบัติตัวระหว่างการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม ควรระมัดระวังและหลีกเลี่ยงเวลาขยับแขนที่ใช้ฟอกเลือด เพราะอาจทำให้เข็มเลื่อนหลุดทำให้ผู้ป่วยเสียเลือดได้ ถ้ามีอาการผิดปกติ เช่น รู้สึกกระตุก เจ็บบริเวณที่แทงเข็ม ควรแจ้งให้ พยาบาลทราบทันที เพราะปลายเข็มอาจแทงทะลุออกนอกหลอดเลือด ทำให้มีเลือดออกใต้ ผิวหนังได้ ผู้ป่วยจะรู้สึกปวด ผิวหนังบริเวณปลายเข็มจะบวม เมื่อกลับบ้านยังรู้สึกปวด สามารถประคบด้วยความเย็นเพื่อลดอาการบวม
โรคเบาหวานเป็นโรคที่พบได้บ่อย ผู้ป่วยประมาณร้อยละ 50 มักมีโรคไตจากเบาหวานร่วมด้วยทำให้เพิ่มความเสี่ยงจากการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด การรักษาตามคำแนะนำในปัจจุบัน ยังไม่สามารถลดอุบัติการณ์การเกิดไตวายระยะเรื้อรังระยะสุดท้ายได้
การรักษาโรคไตวายเรื้อรังแบ่งการรักษาออกเป็น 3 ระยะ คือ ในระยะเบื้องต้น หมายถึง เป็นในระยะแรกนั้น การรักษาส่วนใหญ่จะเป็นการรักษาด้วยยา จุดประสงค์ด้วยการรักษาด้วยยา ไม่ใช่การรักษาให้เนื้อไตที่เสียไปแล้วกลับสภาพทำงานได้ ยาที่อายุรแพทย์โรคไตให้กับผู้ป่วยนั้น เพื่อรักษาปัจจัยต่าง ๆ ที่จะทำให้ไตนั้นเสื่อมสภาพลง เช่น ควบคุมความดันโลหิต ตรงนี้เป็นปัจจัยที่สำคัญมาก ถ้าคนไข้มีความดันโลหิตสูง การควบคุมความดันให้อยู่ในระดับปกติ จะสามารถชะลอไม่ให้ไตเสื่อมลงอย่างรวดเร็ว การให้ยาอื่น ๆ นั้นต้องดูความเหมาะสมในผู้ป่วยแต่ละราย เพราะฉะนั้นควรจะติดตามการรักษากับแพทย์และไม่ซื้อยารับประทานเองหรือเอายาของคนอื่นมารับประทาน อาหารที่ควรจะหลีกเลี่ยงก็คือ อาหารเค็ม อาหารโปรตีนมาก ๆ ก็จะทำให้ของเสียในเลือดเพิ่มขึ้นเร็ว ปัจจุบันเรามีการรักษาหลายชนิด ที่มักจะนิยมเรียกกันว่า การล้างไต จริง ๆ การล้างไตนั้นเป็น
เนื่องจากสถานการณ์ โควิด-19 ระบาด ทางคลินิก เค.พี.เอสการแพทย์ฯ เรามีมาตรการป้องกันเชิงรุกและเชิงรับ สำหรับการดูแลผู้ป่วยที่มารับบริการทุกท่านดังนี้ค่ะ
การสังเกตอาการผิดปกติที่อาจเกิดขึ้นขณะอยู่บ้านและการปฏิบัติตัว